วันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2555

ทำไมซูจีถึงปิดปากเงียบเรื่องโรฮิงญา

ทำไมซูจีถึงปิดปากเงียบเรื่องโรฮิงญา
     เหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างชาวพุทธกับชาวมุสลิม เชื้อสายโรฮิงญาในรัฐยะไข่ ประเทศเมียนมาร์ เป็นเหตุการณ์ที่สร้างแรงสั่นสะเทือนทางการเมืองให้กับรัฐบาลเมียนมาร์ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา
หลังจากที่นานาชาติเริ่มตั้งข้อสังเกตว่า เหตุใดรัฐบาลเมียนมาร์จึงปล่อยให้เหตุการณ์ดังกล่าวบานปลาย จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก
     ขณะเดียวกัน ก็ทำให้เกิดการอพยพของชาวโรฮิงญาอีกหลายหมื่นคน ที่พยายามพายเรือไปยังประเทศบังกลาเทศ แต่กลับถูกรัฐบาลบังกลาเทศปฏิเสธไม่ให้ขึ้นฝั่ง และส่งตัวกลับมายังเมียนมาร์ จนทำให้ชาวโรฮิงญากลุ่มดังกล่าว ต้องทนแบกรับกับภาวะไร้สัญชาติ และพบกับปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางปัญหาที่เกิดขึ้นนั้น สิ่งหนึ่งที่ทุกคนอาจหลงลืมไปก็คือ นางอองซาน ซูจี ผู้นำพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยในเมียนมาร์ เจ้าของรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ และยังเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตยในเมียนมาร์ รวมถึงเป็นผู้นำในการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน ได้หายไปจากเวทีการเมืองของเมียนมาร์ และที่สำคัญ เธอยังไม่ได้ออกมาแสดงความเห็น เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในรัฐยะไข่แต่อย่างใด แต่ท่าทีดังกล่าวของนางซูจี ก็ไม่ได้ทำให้นักวิเคราะห์ทั้งหลายแปลกใจมากนัก เนื่องจากประเด็นปัญหาในรัฐยะไข่เป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนมาก ซึ่งหากว่าเธอออกมาแสดงความคิดเห็นในช่วงนี้ อาจทำให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อพันธมิตรทางการเมืองของเธอ ที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่ต่อต้านชาวโรฮิงญา อีกทั้ง ความคิดเห็นของชาวเมียนมาร์ทั้งหลาย ก็ค่อนข้างเป็นไปในทางลบ เมื่อพูดถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในรัฐยะไข่ เนื่องจากพวกเขามองว่า ชาวโรฮิงญาได้เข้ามาสร้างความวุ่นวาย และแย่งอาชีพ รวมถึงที่ทำกินของชาวเมียนมาร์ โดยเว็บไซต์หนังสือพิมพ์ The Independent ของอังกฤษ ได้อ้างคำให้สัมภาษณ์ของเจ้าหน้าที่ระดับสูงคนหนึ่งของอังกฤษ ที่ออกมาให้สัมภาษณ์ว่า เขารู้สึกแปลกใจที่นางซูจี ไม่ได้ออกมาแสดงความเห็น หรือต่อสู้ในประเด็นสิทธิมนุษยชนให้แก่ชาวโรฮิงญา ซึ่งในตอนแรก เขาคาดหวังว่า นางซูจีจะแสดงความเป็นผู้นำ ที่มีจุดยืนที่เด่นชัดทางด้านมนุษยธรรม และศีลธรรมมากกว่านี้ เพราะการออกมาปกป้องชาวโรฮิงญา ที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้น ถือเป็นสิ่งที่ถูกต้องและควรลงมือทำอย่างเร่งด่วน
    นอกจากนี้ นางซูจียังได้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลเมียนมาร์ ให้เป็นประธานคณะกรรมาธิการในการสร้างหลักนิติธรรม ความสงบ และความมั่นคงภายในประเทศ ซึ่งบทบาทดังกล่าว อาจหมายรวมกับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางด้านชาติพันธุ์ และความขัดแย้งในรัฐยะไข่ด้วย แต่ดูเหมือนว่า เธอจะยังไม่ได้ทำหน้าที่ ที่ได้รับการแต่งตั้งมาอย่างสมบูรญ์แบบเท่าไหร่นัก ทางด้านของผู้เชี่ยวชาญด้านเมียนมาร์ จาก London School of Economics ก็แสดงความเห็นว่า การที่นางซูจีจะออกมาแสดงความเห็นในเรื่องนี้ ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่ได้ไม่คุ้มเสีย เพราะไม่ว่าเธอจะแสดงความคิดเห็นในทิศทางใดก็ตาม เธอก็จะไม่ได้ประโยชน์อะไรจากการกระทำดังกล่าว เพราะตอนนี้ เธอไม่ใช่นักต่อสู้เพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยในเมียนมาร์อีกต่อไป แต่เธอกลายเป็นนักการเมือง ที่ต้องทำเพื่อผลประโยชน์ของพรรค และยังต้องคำนึงถึงผลของการเลือกตั้งทั่วไปครั้งใหม่ ที่จะเกิดขึ้นในอีก 3 ปีข้างหน้าอีกด้วย
    ทั้งนี้ ปัญหาของกลุ่มผู้อพยพชาวมุสลิม เชื้อสายโรฮิงญา เป็นปัญหายืดเยื้อมานานกว่า 30 ปี ซึ่งที่ผ่านมา รัฐบาลเมียนมาร์ปฏิเสธที่จะให้สัญชาติแก่ชาวโรฮิงญากว่า 800,000 คน ที่อาศัยอยู่ตามพรมแดนของเมียนมาร์ โดยก่อนหน้านี้ สหประชาชาติได้ประกาศว่า ปัญหาชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาในเมียนมาร์นั้น ถือเป็นหนึ่งในปัญหาชนกลุ่มน้อย ที่มีความรุนแรงมากที่สุดในโลก และยังคงไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมกันนี้ รัฐบาลเมียนมาร์ยังพยายามที่จะผลักดันให้กลุ่มผู้อพยพชาวโรฮิงญาออกนอกประเทศ ไปยังประเทศที่สาม พร้อมกับทำการจับกุม และกวาดล้างชาวโรฮิงญา โดยอ้างว่าเป็นผู้เข้าเมืองผิดกฎหมาย ซึ่งปัญหาเหล่านี้ยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และชาวเมียนมาร์ส่วนใหญ่ก็ยังเพิกเฉยกับสิ่งเหล่านี้ รวมถึงนางอองซาน ซูจีด้วยเช่นเดียวกัน

เรือจากปีนังนำสิ่งของช่วยโรฮิงยา

โรฮิงญา กับปัญหาพิสูจน์สัญชาติ?

"โรฮิงญา"..อย่าร้องไห้

นักศึกษา ม.อ.ปัตตานีจี้รัฐบาลพม่าหยุดฆ่าโรฮิงญา


       ศูนย์ข่าวหาดใหญ่ - 11 องค์กรนักศึกษา ม.อ.ปัตตานี เดินขบวนปกป้องชาวโรฮิงญา ประณามเหตุทารุณกรรม ร้องรัฐบาลพม่าหยุดฆ่า ทำลาย พร้อมเปิดรับบริจาคเงินช่วย       เมื่อเวลา 14.00 น.วันที่ 15 สิงหาคม 2555 ที่ผ่านมา เครือข่ายนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ม.อ.ปัตตานี) ปกป้องโรฮิงญา จัดโครงการปกป้องชาวโรฮิงญา (Save Rohingyo) มีผู้เข้าร่วมประมาณ 90 คน ที่ลานด้านหน้ามัสยิดกลางปัตตานี อ.เมือง จ.ปัตตานี โดยนายนูรุดดีน มูลทรัพย์ แกนนำนักศึกษาเครือข่ายนักศึกษา ม.อ.ปัตตานีปกป้องชาวโรฮิงญา เป็นผู้ประกาศเจตนารมณ์ร่วมต่อต้าน และประณามผู้อธรรมต่อพี่น้องชาวโรฮิงญา       นายนูรุดดีน ประกาศว่า เครือข่ายนักศึกษา ม.อ.ปัตตานีปกป้องชาวโรฮิงญา ภายใต้องค์กรบริหารองค์การนักศึกษา ม.อ.ปัตตานี ได้เฝ้าติดตามโศกนาฏกรรมด้วยความเจ็บปวดที่ชาวโรฮิงญา รัฐยะไข ประเทศพม่า ซึ่งเป็นพี่น้องร่วมอุดมการณ์ของเรากำลังถูกกดขี่ ข่มเข่ง ถูกย่ำยี ถูกอธรรมอย่างโหดร้ายป่าเถื่อน ถูกทำลายศักดิ์ศรี และเกียรติยศของความเป็นมนุษย์ ไร้ซึ่งมนุษยธรรมอย่างที่สุด       เครือข่ายฯ ขอประกาศเจตนารมณ์ดังนี้ 
       1.ขอประณามการกระทำที่โหดร้ายทารุณ ป่าเถื่อน ด้วยการเข่นฆ่า ทำลายชีวิต และทรัพย์สินของพี่น้องชาวโรฮิงญาที่บริสุทธิ์โดยไม่มีความผิดใดๆ ถือว่าเป็นการทำลายศักดิ์ศรี และเกียรติยศของความเป็นมนุษย์ ขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชนสากล       2.ขอเรียกร้องให้รัฐบาลพม่า หยุดเข่นฆ่า และอยู่เบื้องหลังการอธรรม หยุดสนับสนุนให้ชาวยะไข่ทำร้ายทรัพย์สิน อิสรภาพ และศักดิ์ศรีพี่น้องชาวโรฮิงญาโดยฉับพลัน เปิดโอกาสให้ชาวโรฮิงญาได้ใช้ชีวิตอย่างอย่างอิสรภาพตามหลักสิทธิหลักสิทธิมนุษยชนอันสิทธิขั้นพื้นฐานที่ชาวโลกเรียกร้อง และพึ่งปรารถนา       3.ขอเรียกร้องให้รัฐบาลพม่า ต้องรับผิดชอบต่อการหลั่งเลือด การคร่าชีวิต และการทำลายทรัพย์สิน บ้านเรือนของชาวโรฮิงญาถือเป็นประชาชนผู้บริสุทธิ์พร้อมที่จะมอบเสรีภาพ ศักดิ์ศรี และเกียรติยศให้แก่ชาวโรฮิงญา       4.เครือข่ายฯ ขอเชิญชวนบรรดาผู้นำโลก บรรดาอุลามาอุ องค์กรทางศาสนา องค์กรนักศึกษา และพี่น้องมุสลิมทุกท่าน ช่วยกันสนับสนุนสัจธรรม ยับยั้งการอธรรมถึงแม้ว่าจะต้องสูญเสียสิ่งที่รัก และหวงแหนมากที่สุดก็ตาม ขอให้ทุกคนช่วยกันดุอาอุ และให้การช่วยเหลือพี่น้องโรฮิงญาในรูปแบบต่างๆ เท่าที่พวกเรามีความสามารถ       นายนูรุดดีน เปิดเผยด้วยว่า โครงการนี้มี 4 กิจกรรม ได้แก่ 1.อ่านประกาศเจตนารมณ์ร่วมต่อต้านประณามผู้อธิธรรมต่อพี่น้องชาวโรฮิงญา 2.เปิดกล่องรับบริจาคช่วยเหลือพี่น้องชาวโรงฮิงญา 3.แสดงรูปภาพชาวโรฮิงญาที่ถูกทารุณ 4.เดินขบวนแจกใบปลิวให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่อำเภอเมืองปัตตานีเกี่ยวข้องกับชาวกับโรงฮิงญา       นายนูรุดดีน เปิดเผยว่า โครงการนี้เกิดจากเครือข่ายนักศึกษาฯ ได้ติดตามข่าวสารจากสื่อต่างๆ ที่นำเสนอประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อชาวโรงฮิงญาซึ่งเป็นชาวมุสลิมในประเทศพม่า โดยศาสนาอิสลามถือว่า “มุสลิมเปรียบเสมือนร่างเดียวกัน ส่วนหนึ่งหนึ่งใดเจ็บ ส่วนอื่นก็จะเจ็บไปด้วย” จึงจัดโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการประกาศเจตนารมณ์รวมต่อต้าน และประณามผู้อธรรมต่อพี่น้องชาวโรฮิงญา       นายนูรุดดีน เปิดเผยด้วยว่า สำหรับเงินบริจาคนั้น เครือข่ายนักศึกษาฯ เปิดรับบริจาค 2 ช่องทาง ได้แก่ เปิดกล่องรับบริจาค และเปิดบัญชีธนาคาร ประเภทออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาสงขลานครินทร์ ชื่อบัญชี นายมูฮำหมัด เจ๊ะแต น.ส.ววิลดาญ เด่นดารา นายซอฟวาน สามะ เลขที่บัญชี 704-252053-9 โดยเงินที่ได้จะส่งให้แก่มูลนิธิเพื่อการศึกษา และพัฒนาทรัพย์กรมนุษย์นำไปมอบให้ชาวโรฮิงญาในประเทศพม่า
       สำหรับรายองค์กรภาคีเครือข่ายนักศึกษา ม.อ.ปัตตานี ที่เข้าร่วม ได้แก่ 1.องค์การบริหาร องค์กรการนักศึกษา ม.อ.ปัตตานี 2.สภานักศึกษา องค์การนักศึกษา ม.อ.ปัตตานี 3.มูลนิธิเพื่อการศึกษาและพัฒนาทรัพย์กรมนุษย์ 4.สหพันธ์นิสิตนักศึกษามุสลิมแห่งประเทศไทย (สอ.มท.) 5.สหพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (สนน.จชต) 6.สหพันธ์นักศึกษาจังหวัดปัตตานี(Pascon) 7.สโมสรนักศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา ม.อ.ปัตตานี 8.สโมสรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ.ปัตตานี 9.สโมสรนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี 10.ชมรมมุสลิม ม.อ.ปัตตานี 11.ชมรมสังคมศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี 12.ชมรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมมุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Saudara)ม.อ.ปัตตานี13.พรรคนักศึกษากิจประชา ม.อ.ปัตตานี 14.เครือข่ายเยาวชนอิสระจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Iris) 15.กลุ่ม NurulHidayah

พม่ายังเดือด กลุ่มโรฮิงญา ปะทะพุทธอีก

      กลุ่มพุทธและมุสลิมโรฮิงญาปะทะ ตายอีก 3 นานาชาติกังวลสถานการณ์ กล่าวหารัฐบาลพม่าปล่อยให้เกิดความรุนแรง
      รัฐบาลพม่าแถลงในวันจันทร์ว่า การปะทะครั้งใหม่ของกลุ่มพุทธและกลุ่มมุสลิมโรฮิงญา ทำให้มีผู้เสียชีวิตอีก 3 ราย และบาดเจ็บ 5 รายเมื่อวันอาทิตย์ ที่เมืองจ๊อกตอว์ รัฐยะไข่ เจ้าหน้าที่รัฐบาลรายหนึ่งกล่าวว่า ขณะนี้สถานการณ์ได้คลี่คลายและกลับเข้าสู่ความสงบแล้ว แต่พวกเขาไม่รู้ว่าทำไมความรุนแรงถึงปะทุขึ้นอีกความรุนแรงในทางตะวันตกของรัฐยะไข่ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ทำให้มีผู้เสียชีวิตไปแล้ว 80 รายจากทั้งสองฝั่ง ซึ่งเกิดปะทุหนักหลังหญิงชาวยะไข่คนหนึ่งถูกข่มขืนและฆ่า ซึ่งทำให้กลุ่มชาวพุทธที่โกรธแค้นรุมฆ่าชาวมุสลิม 10 ราย ก่อให้เกิดข้อกังขาในการปฏิรูปประเทศของรัฐบาลประธานาธิบดีเต็ง เส่ง หลังมีข้อกล่าวหาว่าเจ้าหน้าที่รัฐเป็นผู้ก่อความไม่สงบในรัฐยะไข่ แต่ทางรัฐบาลได้ออกมาปฏิเสธข้อหาดังกล่าว  กลุ่มฮิวแมนไรต์วอตช์ที่นิวยอร์ก กล่าวเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า รัฐบาลพม่าเป็นผู้เปิดฉากความรุนแรงกับกลุ่มโรฮิงญา อีกทั้งล้มเหลวในการปกป้องทั้งสองฝ่าย รวมถึงปล่อยให้เกิดความรุนแรงและการรวมกลุ่มเพื่อต่อต้านชาวโรฮิงญา ซึ่งองค์การสหประชาชาติมองว่า เป็นชนกลุ่มน้อยที่ถูกข่มเหงมากที่สุดในโลก เนื่องจากการถูกแบ่งแยกรังเกียจยาวนานหลายสิบปีจนกลายเป็นกลุ่มไร้สัญชาติ.

พม่ารัฐยะไข่โวย ยูเอ็นอุ้มโรฮิงยา

   ชาวยะไข่ราว 50 คน เดินทางจากรัฐยะไข่ ทางภาคตะวันตกของพม่า เพื่อชุมนุมประท้วงสหประชาชาติ (ยูเอ็น)ในนครย่างกุ้ง กรณียูเอ็นช่วยเหลือชาวมุสลิมโรฮิงยา หลังเหตุปะทะรุนแรงระหว่างชาวพุทธยะไข่และชาวมุสลิมโรฮิงยา คร่าชีวิตกว่า 80 ราย เมื่อเดือนมิ.ย.ปีนี้ โดยผู้ประท้วงชูป้ายตำหนิยูเอ็นว่า 'หยุดสร้างความขัดแย้ง' และ 'อย่าเอาผู้ก่อการร้ายเข้ามาในดินแดนของเรา' 
    นายซอ เอ เมือง นักการเมืองตัวแทนผู้ประท้วงกล่าวว่า การชุมนุมนี้ได้รับอนุญาตจากทางการ โดยยืนกรานขอให้ยูเอ็นยุติการเหยียดหยามต่อต้านชาวยะไข่ ซึ่งก่อนหน้านี้ พรรคการเมืองพม่า 24 พรรคได้เรียกร้องยูเอ็นถอดนายโตมัส โอเจีย ควินตานา ทูตพิเศษสิทธิมนุษยชนในพม่า เนื่องจากเข้าข้างชาว โรฮิงยามากเกินไป ขณะที่ประเทศมุสลิมต่างแสดงความกังวลถึงสถานะของชาวโรฮิงยาซึ่งเป็นคนไร้รัฐ แลไม่ได้รับการปฏิบัติที่ดี

อินโดฯเห็นใจโรฮิงญา ประท้วงขับไล่ทูตพม่า

       ชาวอินโดนีเซียราว 100 คน รวมตัวกันเพื่อประท้วงหน้าสถานทูตพม่าเมื่อวันพฤหัสบดี และเรียกร้องให้ขับไล่ทูตพม่าออกจากประเทศอินโดนีเซีย เนื่องจากสิ่งที่พม่าทำกับชาวโรฮิงญา
ผู้ประท้วงสวมผ้าโพกศีรษะสีขาว มีข้อความสีแดงเขียนว่า "ช่วยโรฮิงญา" และถือป้ายประท้วงซึ่งมีข้อความว่า "หยุดความรุนแรง" การเดินขบวนครั้งนี้ถูกจัดขึ้นโดยกลุ่มซึ่งเรียกตัวเองว่า สมาคมเอกภาพโรฮิงญา และในการแถลงข่าว กลุ่มนี้เรียกร้องให้รัฐบาลพม่ายอมรับชาวโรฮิงญาเป็นพลเมืองของประเทศอย่างเป็นทางการ
       นอกจากนี้ มีผู้ประท้วงบางรายขว้างปาไข่เข้าไปในสถานทูต และยังเรียกร้องให้ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน หยุดให้การสนับสนุนประเทศพม่า ในการเข้าร่วมสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียนในปี 2557 อีกด้วย
ความรุนแรงระหว่างชาวพุทธและโรฮิงญาปะทุขึ้นในเดือนมิถุนายน ที่รัฐยะไข่ ทางตะวันตกของประเทศพม่า ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตราว 80 รายจากทั้งสองฝ่ายตามการคาดคะเนของทางรัฐบาล ซึ่งกลุ่มสิทธิมนุษยชนต่างๆ มองว่าเป็นตัวเลขที่ต่ำเกินไป และทำให้มีผู้ไร้ที่อยู่อาศัยมากราว 60,000 รายจากเหตุรุนแรงนี้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวโรฮิงญา กลุ่มฮิวแมนไรต์วอตช์ในนิวยอร์ก กล่าวหาว่ากองกำลังรักษาความมั่นคงของพม่าเป็นผู้เริ่มเปิดศึกกับโรฮิงญาก่อน รวมถึงก่อคดีข่มขืน และเอาแต่ยืนมองฝูงชนเข้าปะทะกับฝ่ายตรงข้ามโดยไม่ทำอะไร รัฐบาลพม่าพิจารณาว่า ชาวโรฮิงญาราว 800,000 คนในประเทศนั้นเป็นชาวต่างชาติ อีกทั้งชาวพม่ามากมายเห็นว่าพวกเขาเป็นผู้อพยพผิดกฎหมายจากบังกลาเทศ จึงไม่มีความเป็นมิตรให้ การถูกแบ่งแยกนานนับสิบปีทำให้ชาวโรฮิงญากลายเป็นผู้ไม่มีสัญชาติ และทำให้องค์การสหประชาชาติมองว่าเป็นหนึ่งในชนกลุ่มน้อยที่ถูกข่มเหงมากที่สุดในโลก.

โอไอซีชงเรื่องมุสลิมโรฮิงญาเข้าที่ประชุมยูเอ็น


     วันที่ 16 ส.ค. สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากนครเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ว่า องค์การความร่วมมืออิสลาม หรือ โอไอซี ได้มีมติในวันนี้ให้นำประเด็นเรื่องชาวมุสลิมโรฮิงญาในประเทศพม่า ซึ่งเกิดเหตุรุนแรงระหว่างเชื้อชาตินั้น เข้าสู่ที่ประชุมองค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น) เพื่อพิจารณาต่อไปแถลงการณ์ของโอไอซีระบุว่า ที่ประชุมโอไอซีซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 57 ชาติ ขอประณามการใช้ความรุนแรงที่ยังคงมีอยู่ต่อไปในขณะนี้ ด้วยฝีมือฝ่ายรัฐบาลที่กระทำต่อสมาชิกชนกลุ่มน้อย ชาวมุสลิมโรฮิงญา และการปฏิเสธไม่ยอมรับในสิทธิความเป็นพลเมืองของพวกเขาเหล่านี้ ที่ประชุมสุดยอดโอไอซีตัดสินใจที่จะนำประเด็นนี้เข้าสู่ที่ประชุมสมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติ เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โอไอซีประกาศก่อนการประชุมสุดยอดว่า ได้รับไฟเขียวจากรัฐบาลพม่าแล้วว่า โอไอซีสามารถให้ความช่วยเหลือชาวมุสลิมโรฮิงญาได้ ซึ่งก็เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างผู้แทนโอไอซีกับประธานาธิบดีเต็ง เส่ง ของพม่า ที่เมืองย่างกุ้ง เมื่อวันศุกร์สัปดาห์ที่แล้ว เพราะสถานการณ์ด้านมนุษยธรรมในรัฐยะไข่นั้นเป็นที่น่าเวทนาอย่างยิ่ง ซึ่งทางผู้แทนโอไอซีได้ยืนยันกับผู้นำรัฐบาลพม่าว่า โอไอซีจะให้ความช่วยเหลือกับชาวบ้านทุกคนที่อาศัยอยู่ในรัฐยะไข่ของพม่า วันเดียวกันนี้ กษัตริย์อับดุลลาห์แห่งซาอุดีอาระเบีย ได้มอบเงินช่วยเหลือ 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 1,500 ล้านบาทให้กับชาวมุสลิมโรฮิงญา

กอ.รมน.ชี้ปฏิบัติต่อโรฮิงญาหนีเข้าเมืองต้องผลักดันตามสิทธิมนุษยชน

       ระนอง - กอ.รมน. ย้ำแผนบูรณาการปฏิบัติต่อโรฮิงญาทางชายฝั่งระนอง เน้นผลักดันตามหลักสิทธิมนุษยชน
       พล.ต.ทวีป บุญมา รองผู้อำนวยการศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ 2 กอ.รมน. กล่าวถึง ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ 2 ซึ่งทาง กอ.รมน. ได้จัดขึ้นเพื่อหารือถึงแผนการปฏิบัติต่อผู้หลบหนีเข้าเมืองที่เดินทางเข้ามาทางชายฝั่งทะเลอันดามัน จ.ระนอง โดยมีหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ทหาร ตำรวจ และส่วนที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมหารือแบบบูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรมว่า       แนวทางการปฏิบัติต่อผู้หลบหนีเข้าเมืองที่เข้ามาทางชายฝั่งทะเลอันดามัน จ.ระนอง ทาง กอ.รมน.เป็นหน่วยงานหลัก และต้องทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันในการผลักดันชาวโรฮิงญาที่ต้องการเดินทางไปยังประเทศที่สาม ซึ่งจะใช้หลักการที่รัฐบาลให้ปฏิบัติต่อผู้หลบหนีเข้าเมืองทางทะเล โดยคำนึงถึงด้านผลประโยชน์ของชาติ ด้านสิทธิมนุษยธรรม ด้านความมั่นคง และอำนวยความสะดวกในการเดินทาง เพื่อให้ผู้หลบหนีเข้าเมืองที่เข้ามาทางทะเลได้เดินทางต่อไปยังประเทศที่สามที่ต้องการได้       รองผู้อำนวยการศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ 2 กอ.รมน. กล่าวอีกว่า ขณะนี้ยังไม่พบปัญหาในการผลักดัน เนื่องจากผู้หลบหนีเข้าเมืองเหล่านี้ใช้ประเทศไทยเป็นเพียงเส้นทางผ่านเท่านั้น จึงทำให้ไม่มีการท้วงติงจากองค์กรระหว่างประเทศ พร้อมยืนยันว่า จะต้องมีความเข้มงวดในการตรวจสอบมากขึ้น เนื่องจากคาดว่าในปีนี้จะมีผู้หลบหนีเข้าเมืองเดินทางเข้ามาทางชายฝั่งทะเลอันดามัน จ.ระนอง มากขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา และจากการตรวจสอบทุกจังหวัดทั่วประเทศ ขณะนี้มีผู้หลบหนีเข้าเมืองเดินทางเข้ามาประมาณ 300 คนเท่านั้น ซึ่งไม่ได้มีจำนวนมากถึง 30,000 คนตามที่เป็นข่าว

พระพม่าหนุนส่ง 'โรฮิงญา' ไปประเทศอื่น


    พระสงฆ์พม่าสนับสนุนแนวคิดรัฐบาล ส่งกลุ่มโรฮิงญาไปอยู่ประเทศอื่นที่พร้อมต้อนรับ ขณะที่กลุ่มสิทธิ์บี้ ฮิลลารี คลินตัน กดดันอินโดฯ จัดการเหตุขัดแย้งศาสนา...
    สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานเมื่อ 2 ก.ย. ว่า พระสงฆ์ชาวพม่าหลายร้อยรูปชุมนุม ที่เมืองมัณฑเลย์ แสดงพลังสนับสนุนประธานาธิบดีเต็ง เส่ง และข้อเสนอที่จะส่งกลุ่มชาวมุสลิมโรฮิงญาไปอยู่ประเทศอื่นๆ ที่พร้อมต้อนรับ 
    ทั้งนี้ หลังเกิดเหตุขัดแย้งระหว่างชาวพุทธและโรฮิงญา ที่รัฐยะไข่ เมื่อเดือนมิ.ย. ที่ผ่านมา แม้ข้อเสนอของผู้นำพม่าจะถูกคัดค้านทันที โดยหน่วยงานด้านผู้ลี้ภัยของสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ขณะที่กลุ่มสอดส่องสิทธิมนุษยชนฮิวแมน ไรต์ส วอทช์ (HRW) เรียกร้องฮิลลารี คลินตัน รมว.ต่างประเทศสหรัฐฯ ซึ่งเยือนอินโดนีเซียในวันที่ 3 ก.ย. ช่วยกดดันอินโดฯ ใส่ใจความขัดแย้งด้านศาสนามากขึ้น.

โดย: ไทยรัฐออนไลน์

พระสงฆ์พม่าเดินขบวนต่อต้านชาวโรฮิงญา


วันจันทร์ที่ 3 กันยายน 2555 เวลา 09:04 น.
วันนี้ ( 3 ก.ย. ) สนักข่าวต่างประเทศรายงานจากเมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่าว่า พระสงฆ์พม่าหลายพันรูป ออกมาเดินขบวนประท้วงในเมืองมัณฑะเลย์ เมื่อวันอาทิตย์ เพื่อแสดงความสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล ที่ต้องการเนรเทศชาวมุสลิมโรฮิงญาออกนอกประเทศ หรือให้ไปอยู่ในค่ายผู้อพยพ นับเป็นการเดินขบวนครั้งใหญ่ที่สุดในรอบ 5 ปี ภายหลังสิ้นสุดการปกครองของรัฐบาลทหาร ทั้งนี้กลุ่มพระสงฆ์ชูแผ่นป้ายสนับสนุนประธานาธิบดีเต็ง เส่ง และวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของนายโทมัส โอเจีย ควินตานา ทูตพิเศษของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งประชาชาติ ( เอชอาร์ซี ) ที่แสดงถึงความไม่เป็นกลาง จนกลายเป็นชนวนให้เกิดเหตุรุนแรงในรัฐยะไข่เมื่อเดือน มิ.ย.


รายงานฉบับล่าสุดของสหประชาชาติ ( ยูเอ็น ) ระบุว่า ปัจจุบัน  มีชาวโรฮิงญาราว 800,000 คน อาศัยอยู่ในพม่า ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในรัฐยะไข่ ซึ่งเป็นรัฐพรมแดนติดกับบังกลาเทศ มีภาษาเป็นของตนเอง แต่คล้ายกับภาษาบังกลาเทศ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลพม่ากลับมองชาวโรฮิงญาเป็นชาวต่างชาติ เช่นเดียวกับชาวพม่าจำนวนมากที่มองว่า ชาวโรฮิงญาเป็นศัตรู และเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศอย่างผิดกฎหมาย

รากเหง้าของปัญหาชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาคือระบอบเผด็จการทหารพม่า






       
       กล่าวในภาพรวม ประเทศพม่าประกอบด้วยชาติพันธุ์ 19 กลุ่มหลักโดยชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาถือเป็นกลุ่มย่อยใน 19 กลุ่มชาติพันธุ์ เป็นชนกลุ่มน้อยที่นับถือศาสนาอิสลาม อาศัยอยู่ในรัฐอาราคาน(Arakan) ด้านทิศตะวันตกของพม่า มีพรมแดนติดต่อกับประเทศบังกลาเทศ ซึ่งในรัฐอาราคานมีชนชาติอาราคานที่นับถือศาสนาพุทธประกอบเป็นกลุ่มคนส่วนให ญ่ของรัฐอาราคาน
      
       รัฐบาลเผด็จการทหารพม่าสมัยนายพลเนวินได้ทำการรัฐประหารโค่นรัฐบาลปร ะชาธิปไตยของอูนุเมื่อปี พ.ศ. 2505 และได้สถาปนาระบอบเผด็จการทหารมาตลอด 46 ปีที่ผ่านมา เป็นที่ทราบกันดีทั่วไปว่า นับตั้งแต่ระบอบเผด็จการทหารพม่าขึ้นมามีอำนาจอย่างเบ็ดเสร็จเป็นเวลา 46 ปีเต็มจนถึงปัจจุบันระบอบเผด็จการทหารพม่ามีนโยบายเพื่อแบ่งแยกและปกครอง (divide and rule) ในพม่าอย่างชัดเจนมาตลอด ด้วยการใช้ปัจจัยความแตกต่างทางเชื้อชาติและศาสนาระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ทั้ ง 19 กลุ่มหลักและกลุ่มย่อย เป็นเครื่องมือทางการเมืองการปกครอง สร้างความเกลียดชังความแตกแยกระหว่างคนเชื้อชาติพม่า (ซึ่งมีกว่า 70%) กับกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ และระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยกัน ทั้งนี้ ฝ่ายเผด็จการทหารพม่าจะพยายามทำความเข้าใจและให้การสนับสนุนกลุ่มชาติพันธุ์ ต่าง ๆ ที่นับถือศาสนาพุทธเพื่อดึงมาเป็นแนวร่วม ในการทำสงครามปราบปรามกลุ่มชนส่วนน้อยอื่น ๆ ที่ไม่นับถือศาสนาพุทธ (เช่น ปราบปรามชาวกะเหรี่ยง KNU ที่นับถือศาสนาคริสต์และชาวโรฮิงญาซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม เป็นต้น) พร้อมกับให้ความร่วมมือกับกลุ่มชนส่วนน้อยบางกลุ่มหารายได้และผลประโยชน์มหา ศาลจากการผลิตและค้ายาเสพติดทุกประเภท (เช่น ยินยอมหลับหูหลับตาให้กับชนกลุ่มน้อยว้าแดงในรัฐฉานทำการผลิตและค้ายาบ้าเพื ่อลักลอบเข้ามาขายในประเทศไทย) ตลอดจนการหารายได้จากการทำลายสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ (เช่น การตัดไม้ทำลายป่า)
      
       สำหรับกรณีของชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาในพม่านั้น รัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ทำการปราบปรามอย่างรุนแรงมาโดยตลอด เพื่อบีบให้ชาวโรฮิงญาหนีการปราบปราม ทิ้งที่อยู่อาศัย อันเป็นการเปิดโอกาสให้ชาวอาราคาน (ซึ่งส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ) เข้ามาครอบครองพื้นที่อาศัยของชาวโรฮิงญา การบีบให้ชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาละทิ้งที่อยู่อาศัยเพื่อหนีการปราบปรามโดยฝ่ ายรัฐบาลเผด็จการทหารพม่าถือได้ว่าเป็นนโยบายการบริหารจัดการเพื่อกำจัดชาติ พันธุ์อย่างเป็นระบบ (managed ethnic cleansing) ไม่ต่างจากนโยบายของอดีตประธานาธิบดี Slobodan Milosevic ที่ใช้การปราบปรามชาวบอสเนียอย่างรุนแรงเพื่อบีบให้ออกจากพื้นที่อาศัย เปิดทางให้ชาวเซิร์บเข้ามายึดครองพื้นที่อาศัยของชาวบอสเนียในอดีตประเทศยูโ กสลาเวีย อีกทั้งไม่แตกต่างจากนโยบายและการปฏิบัติการรุนแรงของขบวนการก่อการร้ายใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย เพื่อหวังสร้างความสะพรึงกลัวให้กับชาวไทยที่ไม่ใช่มุสลิมหนีอพยพออกจากพื้น ที่อันตรายของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ อันนำไปสู่สภาพการณ์ของผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced persons)เพื่อเปิดทางให้กับกลุ่มที่สนับสนุนการก่อการร้ายย้ายเข้ามายึดครอง พื้นที่ที่ถูกทอดทิ้ง
      
       รัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ทำการปราบปรามชาวโรฮิงญาอย่างรุนแรงและอย่ างกว้างขวางครั้งใหญ่ 2 ครั้ง (ช่วงปี พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2544) โดยผลของการปราบปรามอย่างรุนแรงอย่างโหดเหี้ยมทั้งสองครั้งดังกล่าวได้ทำให้ ชาวโรฮิงญาหนีภัยไปอาศัยอยู่ในประเทศบังกลาเทศ (ครั้งแรกจำนวน 200,000 คน ครั้งที่สอง 250,000 กว่าคน) และแม้ว่าทางสำนักข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยของสหประชาชาติ (องค์การ UNHCR) จะได้ช่วยให้ชาวโรฮิงญาเดินทางกลับไปยังถิ่นฐานเดิมในพม่าช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2544-2548 แต่เนื่องจากทางรัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ปล่อยให้ชาวอาราคานที่นับถือศาสนา พุทธเข้าไปครอบครองพื้นที่อาศัยของชาวโรฮิงญาเกือบหมดแล้ว อีกทั้งไม่เคยให้สัญชาติพม่าแก่ชาวโรฮิงญา (รวมทั้งชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ในพม่า) เป็นผลทำให้ชาวโรฮิงญากลายเป็นบุคคลไร้สัญชาติในพม่าและยังต้องประสบกับการป ราบปรามอย่างต่อเนื่องจากฝ่ายทหารพม่า ทำให้ต้องหนีกลับไปหาที่พักพิงในค่ายผู้อพยพของ UNHCR (กว่า 60,000 คน) และค่ายที่ทางการบังกลาเทศจัดให้ (กว่า 100,000 คน) ภายใต้สภาพความเป็นอยู่ที่เลวร้าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านสาธารณสุขและสาธารณูปโภค
      
       เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปทั้งในวงการของ NGO ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสิทธิมนุษยชนและความช่วยเหลือด้านมนุษ ยธรรมว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวโรฮิงญาหนีภัยไปยังประเทศบังกลาเทศนั้น เป็นเพราะการปราบปรามอย่างรุนแรงของรัฐบาลเผด็จการทหารพม่า ส่วนการหนีออกจากค่ายผู้อพยพในบังกลาเทศโดยเดินทางมาทางเรือโดยส่วนใหญ่อ้าง ว่าเพื่อไปยังประเทศมาเลเซีย แต่หลงทางหรือถูกลมพัดมายังฝั่งไทยนั้น มีสาเหตุสำคัญมาจากการไม่สามารถทนสภาพเลวร้ายของค่ายผู้อพยพ จึงจำเป็นต้องดิ้นรนหาแหล่งพักพิงใหม่ จึงทำให้เกิดขบวนการค้าและลักลอบมนุษย์ระหว่างประเทศ ทั้งนี้ การที่ชาวโรฮิงญาสามารถเดินทางออกมาจากประเทศบังกลาเทศทางเรือโดยเลาะมาตามช ายฝั่งของบังกลาเทศพม่า จนถึงไทยได้ย่อมต้องได้รับการรู้เห็นเป็นใจจากเจ้าหน้าที่ของบังกลาเทศและพม ่าจนสามารถมาขึ้นบนฝั่งไทยได้ มีการจ่ายเบี้ยบ้ายรายทางให้กับขบวนการลักลอบมนุษย์ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ของบังกลาเทศ พม่า ไทย และมาเลเซียเป็นทอด ๆ ไป (ไม่แตกต่างจากขบวนการลักลอบมนุษย์ทางบกที่นำชาวเกาหลีเหนือหลบหนีออกมาจากเ กาหลีเหนือผ่านทางจีนลงมายังพม่าหรือลาว เพื่อเข้ามายังประเทศไทย) ชาวโรฮิงญาเหล่านี้เมื่อมาถึงไทยหรือมาเลเซียแล้วก็จะกระจายไปอยู่ตามโรงงาน ต่างๆ เป็นคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายที่กลายเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ไม่ต่างจากแรงงานทาส และเป็นที่ต้องการของบรรดานายทุน เจ้าของโรงงาน เจ้าของไร่ยางพารา เพราะค่าจ้างต่ำมากเป็นพิเศษ ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ เป็นผลทำให้ประเทศไทยกลายเป็นแหล่งรองรับบุคคลเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายหลายสัญ ชาติหลายเผ่าพันธุ์ที่ขบวนการค้ามนุษย์และการลักลอบมนุษย์ในภูมิภาคเอเชียใต ้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก นำมาทิ้งไว้ให้ไทยต้องแบกภาระอย่างไม่มีที่สิ้นสุด โดยการสมรู้ร่วมคิดของบรรดาเจ้าหน้าที่ไทยที่ทุจริตประพฤติมิชอบ
      
       โดยข้อเท็จจริงแล้ว รัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนที่ฝ่ายไทยจำต้องรีบดำเนินการหาทางแก้ไขปัญหาผ ู้เข้าเมืองผิดกฎหมายชาวโรฮิงญามาตั้งแต่กรกฎาคม 2550 แล้ว และได้มีบัญชาเป็นทางการมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศและสภาความมั่นคงแห่ งชาติเป็นหน่วยงานหลักร่วมกันพิจารณาดำเนินการหามาตรการแก้ไขเป็นการเร่งด่ว นที่สุด พร้อมทั้งได้สั่งการชัดเจนให้กระทรวงการต่างประเทศจัดการประชุมระดับภูมิภาค เกี่ยวกับประเด็นการลักลอบขนคนเข้าเมือง (Human smuggling) ที่กรุงเทพฯ ในโอกาสแรก ซึ่งรวมทั้งกรณีชาวโรฮิงญา แต่เวลาผ่านไป 1 ปีครึ่ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกลับไม่ได้ดำเนินการอะไรอย่างจริงจัง กลับปล่อยปละละเลยจนมีเหตุการณ์ร้ายแรงตามที่เป็นข่าวเมื่อ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาว่า ทางกองทัพเรือได้ปฏิบัติต่อชาวโรฮิงญาอย่างไร้มนุษยธรรม เป็นผลให้ชาวโรฮิงญาเสียชีวิตกลางทะเลจำนวนมาก ส่วนข่าวดังกล่าวจะจริงหรือเท็จยังไม่มีใครสามารถยืนยันได้ แต่ที่แน่นอนคือ ภาพลักษณ์และภาพพจน์ของประเทศไทยได้รับความเสียหายไปแล้วจากการรายงานข่าวขอ งบรรดาสื่อต่างประเทศ เพราะความไม่เอาใจใส่และไม่รับผิดชอบของหน่วยงานของไทย โดยปล่อยปละละเลยมาเป็นเวลากว่า 1 ปีครึ่ง
      
       ประเด็นข่าวเรื่องหน่วยงานไทยที่เกี่ยวข้องได้ละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อ ชาวโรฮิงญาจนมีผลทำให้เกิดการเสียชีวิตจำนวนมากนั้น ประเด็นไม่ได้อยู่ที่สิทธิในการผลักดันหรือในการส่งตัวชาวโรฮิงญากลับ ไปยังแหล่งที่เดิม เพราะทุกประเทศมีอำนาจอธิปไตยที่จะไม่ให้มีการเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย หากแต่ประเด็นอยู่ที่วิธีการดำเนินการและการปฏิบัติต่อชาวโรฮิงญาว่าผิดหลัก มนุษยธรรมหรือไม่ มีการดำเนินการเกินกว่าเหตุ และขัดต่อหลักการว่าด้วยสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานหรือไม่ แต่สิทธิมนุษยชนไม่ได้หมายความว่าชาวโรฮิงญามีสิทธิที่เข้าเมืองโดยผิดกฎหมา ยของไทยหรือมีสิทธิที่จะอ้างสิทธิมนุษยชนเพื่อละเมิดอธิปไตยในน่านน้ำของไทย ข้อครหาที่มีต่อรัฐบาลไทยจะเบาบางและหมดไปต่อเมื่อคณะกรรมการที่มีหน้าที่สอ บสวนหาข้อเท็จจริงในเรื่องนี้สามารถสรุปความจริงออกมาได้อย่างปราศจากข้อสงส ัยใด ๆ ในโอกาสแรก
      
       โดยสรุปปัญหาเรื่องของคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายชาวโรฮิงญาโดยเนื้อหาแ ล้วไม่ได้แตกต่างจากแรงงานผิดกฎหมายชนกลุ่มน้อยชาวพม่าอีกกว่า 3 ล้านคนในประเทศไทย รวมทั้งแรงงานผิดกฎหมายชาวเกาหลีเหนือ ชาวลาว และกัมพูชาอีกหลายหมื่นคนที่เข้ามาในไทยอย่างผิดกฎหมาย แต่ในกรณีของชาวพม่า(ชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์ต่าง ๆ) ที่หนีมาฝั่งไทยจะด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือเป็นเพราะถูกปราบปรามอย่างรุนแร งจากเผด็จการทหารพม่าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุการณ์ยืนยันให้เป็นที่ประจักษ์อย่างปราศจากข้อสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้นว่า รัฐบาลที่ทำการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงที่สุดและอย่างยาวนานที่สุดใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือภูมิภาคอาเซียนคือรัฐบาลของระบอบเผด็จการ ทหารพม่าซึ่งอยู่ในอำนาจมากว่า 46 ปีแล้ว ไม่ใช่รัฐบาลไทยชุดปัจจุบันแน่นอน ตรงกันข้ามประเทศไทยกลับต้องมาแบกภาระหนักหน่วงดูแลผู้อพยพผู้เข้าเมืองโดยผ ิดกฎหมายจากประเทศพม่ามาเป็นเวลากว่า 46 ปี ทั้งนี้เพราะรากเหง้าของปัญหาชาวโรฮิงญาและปัญหาชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ จากพม่าที่หนีมาพักพิงในประเทศไทย มีสาเหตุโดยตรงมาจากระบอบการเมืองที่เป็นเผด็จการ และไร้มนุษยธรรมที่มีอยู่ในประเทศพม่า นั่นคือ ระบอบเผด็จการทหารพม่าที่ไม่เอื้ออาทรต่อประชาชนพม่าที่มุ่งแต่จะปราบปรามอย ่างรุนแรง ที่ไม่เคยคิดแก้ปัญหาขัดแย้งที่มีกับบรรดากลุ่มชนส่วนน้อยชาติพันธุ์ต่าง ๆ ด้วยวิธีการทางการเมืองหรือด้วยการเจรจาหาข้อยุติอย่างสันติวิธี แต่กลับมุ่งใช้การแก้ปัญหาขัดแย้งด้วยวิธีการทางการทหารตลอด 46 ปีที่ผ่านมา โดยไม่ใส่ใจกับผลกระทบร้ายแรงที่มีต่อประเทศเพื่อนบ้านอย่างไทย หากแต่จงใจสร้างปัญหาให้กับไทยมาโดยตลอดอย่างไม่มีที่จบสิ้น และในเมื่อข้อเท็จจริงเป็นดังกล่าวมานี้ จึงเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าเพราะเหตุใดความขัดแย้งระหว่างระบอบเผด็จการทหารพ ม่ากับบรรดากลุ่มชนส่วนน้อยกลุ่มต่าง ๆ ถึงไม่เคยได้ข้อยุติแบบสันติวิธีในรูปแบบของข้อตกลงทางการเมือง (political settlement) จะมีบางครั้งก็แต่เพียงในรูปแบบของข้อตกลงหยุดยิง (ceasefire agreement) อันเป็นเพียงการหย่าศึกชั่วคราวเท่านั้น เพื่อรอวันที่จะกลับมาห้ำหั่นกันอีกในอนาคต รากเหง้าของปัญหาร้ายแรงทั้งหลายทั้งปวงที่เกิดขึ้นในพม่าและส่งผลกระทบทางล บโดยตรงต่อความมั่นคงทุกด้านของประเทศไทยคือ ระบอบการเมืองที่เป็นเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จที่มีอยู่ในพม่ามากว่า 46 ปีแล้ว ฉะนั้นตราบใดที่ยังไม่มีกระบวนการประชาธิปไตยและการปรองดองภายในพม่าเกิดขึ้ นอย่างเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่องและอย่างชอบธรรมสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงบริเวณชายแดนด้านทิศตะวันตกของไทยก็ยากที่จะเกิดขึ้นได้
       
กล่าวในภาพรวม ประเทศพม่าประกอบด้วยชาติพันธุ์ 19 กลุ่มหลักโดยชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาถือเป็นกลุ่มย่อยใน 19 กลุ่มชาติพันธุ์ เป็นชนกลุ่มน้อยที่นับถือศาสนาอิสลาม อาศัยอยู่ในรัฐอาราคาน(Arakan) ด้านทิศตะวันตกของพม่า มีพรมแดนติดต่อกับประเทศบังกลาเทศ ซึ่งในรัฐอาราคานมีชนชาติอาราคานที่นับถือศาสนาพุทธประกอบเป็นกลุ่มคนส่วนให ญ่ของรัฐอาราคาน
      
       รัฐบาลเผด็จการทหารพม่าสมัยนายพลเนวินได้ทำการรัฐประหารโค่นรัฐบาลปร ะชาธิปไตยของอูนุเมื่อปี พ.ศ. 2505 และได้สถาปนาระบอบเผด็จการทหารมาตลอด 46 ปีที่ผ่านมา เป็นที่ทราบกันดีทั่วไปว่า นับตั้งแต่ระบอบเผด็จการทหารพม่าขึ้นมามีอำนาจอย่างเบ็ดเสร็จเป็นเวลา 46 ปีเต็มจนถึงปัจจุบันระบอบเผด็จการทหารพม่ามีนโยบายเพื่อแบ่งแยกและปกครอง (divide and rule) ในพม่าอย่างชัดเจนมาตลอด ด้วยการใช้ปัจจัยความแตกต่างทางเชื้อชาติและศาสนาระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ทั้ ง 19 กลุ่มหลักและกลุ่มย่อย เป็นเครื่องมือทางการเมืองการปกครอง สร้างความเกลียดชังความแตกแยกระหว่างคนเชื้อชาติพม่า (ซึ่งมีกว่า 70%) กับกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ และระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยกัน ทั้งนี้ ฝ่ายเผด็จการทหารพม่าจะพยายามทำความเข้าใจและให้การสนับสนุนกลุ่มชาติพันธุ์ ต่าง ๆ ที่นับถือศาสนาพุทธเพื่อดึงมาเป็นแนวร่วม ในการทำสงครามปราบปรามกลุ่มชนส่วนน้อยอื่น ๆ ที่ไม่นับถือศาสนาพุทธ (เช่น ปราบปรามชาวกะเหรี่ยง KNU ที่นับถือศาสนาคริสต์และชาวโรฮิงญาซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม เป็นต้น) พร้อมกับให้ความร่วมมือกับกลุ่มชนส่วนน้อยบางกลุ่มหารายได้และผลประโยชน์มหา ศาลจากการผลิตและค้ายาเสพติดทุกประเภท (เช่น ยินยอมหลับหูหลับตาให้กับชนกลุ่มน้อยว้าแดงในรัฐฉานทำการผลิตและค้ายาบ้าเพื ่อลักลอบเข้ามาขายในประเทศไทย) ตลอดจนการหารายได้จากการทำลายสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ (เช่น การตัดไม้ทำลายป่า)
      
       สำหรับกรณีของชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาในพม่านั้น รัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ทำการปราบปรามอย่างรุนแรงมาโดยตลอด เพื่อบีบให้ชาวโรฮิงญาหนีการปราบปราม ทิ้งที่อยู่อาศัย อันเป็นการเปิดโอกาสให้ชาวอาราคาน (ซึ่งส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ) เข้ามาครอบครองพื้นที่อาศัยของชาวโรฮิงญา การบีบให้ชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาละทิ้งที่อยู่อาศัยเพื่อหนีการปราบปรามโดยฝ่ ายรัฐบาลเผด็จการทหารพม่าถือได้ว่าเป็นนโยบายการบริหารจัดการเพื่อกำจัดชาติ พันธุ์อย่างเป็นระบบ (managed ethnic cleansing) ไม่ต่างจากนโยบายของอดีตประธานาธิบดี Slobodan Milosevic ที่ใช้การปราบปรามชาวบอสเนียอย่างรุนแรงเพื่อบีบให้ออกจากพื้นที่อาศัย เปิดทางให้ชาวเซิร์บเข้ามายึดครองพื้นที่อาศัยของชาวบอสเนียในอดีตประเทศยูโ กสลาเวีย อีกทั้งไม่แตกต่างจากนโยบายและการปฏิบัติการรุนแรงของขบวนการก่อการร้ายใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย เพื่อหวังสร้างความสะพรึงกลัวให้กับชาวไทยที่ไม่ใช่มุสลิมหนีอพยพออกจากพื้น ที่อันตรายของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ อันนำไปสู่สภาพการณ์ของผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced persons)เพื่อเปิดทางให้กับกลุ่มที่สนับสนุนการก่อการร้ายย้ายเข้ามายึดครอง พื้นที่ที่ถูกทอดทิ้ง
      
       รัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ทำการปราบปรามชาวโรฮิงญาอย่างรุนแรงและอย่ างกว้างขวางครั้งใหญ่ 2 ครั้ง (ช่วงปี พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2544) โดยผลของการปราบปรามอย่างรุนแรงอย่างโหดเหี้ยมทั้งสองครั้งดังกล่าวได้ทำให้ ชาวโรฮิงญาหนีภัยไปอาศัยอยู่ในประเทศบังกลาเทศ (ครั้งแรกจำนวน 200,000 คน ครั้งที่สอง 250,000 กว่าคน) และแม้ว่าทางสำนักข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยของสหประชาชาติ (องค์การ UNHCR) จะได้ช่วยให้ชาวโรฮิงญาเดินทางกลับไปยังถิ่นฐานเดิมในพม่าช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2544-2548 แต่เนื่องจากทางรัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ปล่อยให้ชาวอาราคานที่นับถือศาสนา พุทธเข้าไปครอบครองพื้นที่อาศัยของชาวโรฮิงญาเกือบหมดแล้ว อีกทั้งไม่เคยให้สัญชาติพม่าแก่ชาวโรฮิงญา (รวมทั้งชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ในพม่า) เป็นผลทำให้ชาวโรฮิงญากลายเป็นบุคคลไร้สัญชาติในพม่าและยังต้องประสบกับการป ราบปรามอย่างต่อเนื่องจากฝ่ายทหารพม่า ทำให้ต้องหนีกลับไปหาที่พักพิงในค่ายผู้อพยพของ UNHCR (กว่า 60,000 คน) และค่ายที่ทางการบังกลาเทศจัดให้ (กว่า 100,000 คน) ภายใต้สภาพความเป็นอยู่ที่เลวร้าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านสาธารณสุขและสาธารณูปโภค
      
       เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปทั้งในวงการของ NGO ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสิทธิมนุษยชนและความช่วยเหลือด้านมนุษ ยธรรมว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวโรฮิงญาหนีภัยไปยังประเทศบังกลาเทศนั้น เป็นเพราะการปราบปรามอย่างรุนแรงของรัฐบาลเผด็จการทหารพม่า ส่วนการหนีออกจากค่ายผู้อพยพในบังกลาเทศโดยเดินทางมาทางเรือโดยส่วนใหญ่อ้าง ว่าเพื่อไปยังประเทศมาเลเซีย แต่หลงทางหรือถูกลมพัดมายังฝั่งไทยนั้น มีสาเหตุสำคัญมาจากการไม่สามารถทนสภาพเลวร้ายของค่ายผู้อพยพ จึงจำเป็นต้องดิ้นรนหาแหล่งพักพิงใหม่ จึงทำให้เกิดขบวนการค้าและลักลอบมนุษย์ระหว่างประเทศ ทั้งนี้ การที่ชาวโรฮิงญาสามารถเดินทางออกมาจากประเทศบังกลาเทศทางเรือโดยเลาะมาตามช ายฝั่งของบังกลาเทศพม่า จนถึงไทยได้ย่อมต้องได้รับการรู้เห็นเป็นใจจากเจ้าหน้าที่ของบังกลาเทศและพม ่าจนสามารถมาขึ้นบนฝั่งไทยได้ มีการจ่ายเบี้ยบ้ายรายทางให้กับขบวนการลักลอบมนุษย์ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ของบังกลาเทศ พม่า ไทย และมาเลเซียเป็นทอด ๆ ไป (ไม่แตกต่างจากขบวนการลักลอบมนุษย์ทางบกที่นำชาวเกาหลีเหนือหลบหนีออกมาจากเ กาหลีเหนือผ่านทางจีนลงมายังพม่าหรือลาว เพื่อเข้ามายังประเทศไทย) ชาวโรฮิงญาเหล่านี้เมื่อมาถึงไทยหรือมาเลเซียแล้วก็จะกระจายไปอยู่ตามโรงงาน ต่างๆ เป็นคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายที่กลายเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ไม่ต่างจากแรงงานทาส และเป็นที่ต้องการของบรรดานายทุน เจ้าของโรงงาน เจ้าของไร่ยางพารา เพราะค่าจ้างต่ำมากเป็นพิเศษ ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ เป็นผลทำให้ประเทศไทยกลายเป็นแหล่งรองรับบุคคลเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายหลายสัญ ชาติหลายเผ่าพันธุ์ที่ขบวนการค้ามนุษย์และการลักลอบมนุษย์ในภูมิภาคเอเชียใต ้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก นำมาทิ้งไว้ให้ไทยต้องแบกภาระอย่างไม่มีที่สิ้นสุด โดยการสมรู้ร่วมคิดของบรรดาเจ้าหน้าที่ไทยที่ทุจริตประพฤติมิชอบ
      
       โดยข้อเท็จจริงแล้ว รัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนที่ฝ่ายไทยจำต้องรีบดำเนินการหาทางแก้ไขปัญหาผ ู้เข้าเมืองผิดกฎหมายชาวโรฮิงญามาตั้งแต่กรกฎาคม 2550 แล้ว และได้มีบัญชาเป็นทางการมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศและสภาความมั่นคงแห่ งชาติเป็นหน่วยงานหลักร่วมกันพิจารณาดำเนินการหามาตรการแก้ไขเป็นการเร่งด่ว นที่สุด พร้อมทั้งได้สั่งการชัดเจนให้กระทรวงการต่างประเทศจัดการประชุมระดับภูมิภาค เกี่ยวกับประเด็นการลักลอบขนคนเข้าเมือง (Human smuggling) ที่กรุงเทพฯ ในโอกาสแรก ซึ่งรวมทั้งกรณีชาวโรฮิงญา แต่เวลาผ่านไป 1 ปีครึ่ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกลับไม่ได้ดำเนินการอะไรอย่างจริงจัง กลับปล่อยปละละเลยจนมีเหตุการณ์ร้ายแรงตามที่เป็นข่าวเมื่อ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาว่า ทางกองทัพเรือได้ปฏิบัติต่อชาวโรฮิงญาอย่างไร้มนุษยธรรม เป็นผลให้ชาวโรฮิงญาเสียชีวิตกลางทะเลจำนวนมาก ส่วนข่าวดังกล่าวจะจริงหรือเท็จยังไม่มีใครสามารถยืนยันได้ แต่ที่แน่นอนคือ ภาพลักษณ์และภาพพจน์ของประเทศไทยได้รับความเสียหายไปแล้วจากการรายงานข่าวขอ งบรรดาสื่อต่างประเทศ เพราะความไม่เอาใจใส่และไม่รับผิดชอบของหน่วยงานของไทย โดยปล่อยปละละเลยมาเป็นเวลากว่า 1 ปีครึ่ง
      
       ประเด็นข่าวเรื่องหน่วยงานไทยที่เกี่ยวข้องได้ละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อ ชาวโรฮิงญาจนมีผลทำให้เกิดการเสียชีวิตจำนวนมากนั้น ประเด็นไม่ได้อยู่ที่สิทธิในการผลักดันหรือในการส่งตัวชาวโรฮิงญากลับ ไปยังแหล่งที่เดิม เพราะทุกประเทศมีอำนาจอธิปไตยที่จะไม่ให้มีการเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย หากแต่ประเด็นอยู่ที่วิธีการดำเนินการและการปฏิบัติต่อชาวโรฮิงญาว่าผิดหลัก มนุษยธรรมหรือไม่ มีการดำเนินการเกินกว่าเหตุ และขัดต่อหลักการว่าด้วยสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานหรือไม่ แต่สิทธิมนุษยชนไม่ได้หมายความว่าชาวโรฮิงญามีสิทธิที่เข้าเมืองโดยผิดกฎหมา ยของไทยหรือมีสิทธิที่จะอ้างสิทธิมนุษยชนเพื่อละเมิดอธิปไตยในน่านน้ำของไทย ข้อครหาที่มีต่อรัฐบาลไทยจะเบาบางและหมดไปต่อเมื่อคณะกรรมการที่มีหน้าที่สอ บสวนหาข้อเท็จจริงในเรื่องนี้สามารถสรุปความจริงออกมาได้อย่างปราศจากข้อสงส ัยใด ๆ ในโอกาสแรก
      
       โดยสรุปปัญหาเรื่องของคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายชาวโรฮิงญาโดยเนื้อหาแ ล้วไม่ได้แตกต่างจากแรงงานผิดกฎหมายชนกลุ่มน้อยชาวพม่าอีกกว่า 3 ล้านคนในประเทศไทย รวมทั้งแรงงานผิดกฎหมายชาวเกาหลีเหนือ ชาวลาว และกัมพูชาอีกหลายหมื่นคนที่เข้ามาในไทยอย่างผิดกฎหมาย แต่ในกรณีของชาวพม่า(ชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์ต่าง ๆ) ที่หนีมาฝั่งไทยจะด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือเป็นเพราะถูกปราบปรามอย่างรุนแร งจากเผด็จการทหารพม่าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุการณ์ยืนยันให้เป็นที่ประจักษ์อย่างปราศจากข้อสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้นว่า รัฐบาลที่ทำการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงที่สุดและอย่างยาวนานที่สุดใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือภูมิภาคอาเซียนคือรัฐบาลของระบอบเผด็จการ ทหารพม่าซึ่งอยู่ในอำนาจมากว่า 46 ปีแล้ว ไม่ใช่รัฐบาลไทยชุดปัจจุบันแน่นอน ตรงกันข้ามประเทศไทยกลับต้องมาแบกภาระหนักหน่วงดูแลผู้อพยพผู้เข้าเมืองโดยผ ิดกฎหมายจากประเทศพม่ามาเป็นเวลากว่า 46 ปี ทั้งนี้เพราะรากเหง้าของปัญหาชาวโรฮิงญาและปัญหาชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ จากพม่าที่หนีมาพักพิงในประเทศไทย มีสาเหตุโดยตรงมาจากระบอบการเมืองที่เป็นเผด็จการ และไร้มนุษยธรรมที่มีอยู่ในประเทศพม่า นั่นคือ ระบอบเผด็จการทหารพม่าที่ไม่เอื้ออาทรต่อประชาชนพม่าที่มุ่งแต่จะปราบปรามอย ่างรุนแรง ที่ไม่เคยคิดแก้ปัญหาขัดแย้งที่มีกับบรรดากลุ่มชนส่วนน้อยชาติพันธุ์ต่าง ๆ ด้วยวิธีการทางการเมืองหรือด้วยการเจรจาหาข้อยุติอย่างสันติวิธี แต่กลับมุ่งใช้การแก้ปัญหาขัดแย้งด้วยวิธีการทางการทหารตลอด 46 ปีที่ผ่านมา โดยไม่ใส่ใจกับผลกระทบร้ายแรงที่มีต่อประเทศเพื่อนบ้านอย่างไทย หากแต่จงใจสร้างปัญหาให้กับไทยมาโดยตลอดอย่างไม่มีที่จบสิ้น และในเมื่อข้อเท็จจริงเป็นดังกล่าวมานี้ จึงเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าเพราะเหตุใดความขัดแย้งระหว่างระบอบเผด็จการทหารพ ม่ากับบรรดากลุ่มชนส่วนน้อยกลุ่มต่าง ๆ ถึงไม่เคยได้ข้อยุติแบบสันติวิธีในรูปแบบของข้อตกลงทางการเมือง (political settlement) จะมีบางครั้งก็แต่เพียงในรูปแบบของข้อตกลงหยุดยิง (ceasefire agreement) อันเป็นเพียงการหย่าศึกชั่วคราวเท่านั้น เพื่อรอวันที่จะกลับมาห้ำหั่นกันอีกในอนาคต รากเหง้าของปัญหาร้ายแรงทั้งหลายทั้งปวงที่เกิดขึ้นในพม่าและส่งผลกระทบทางล บโดยตรงต่อความมั่นคงทุกด้านของประเทศไทยคือ ระบอบการเมืองที่เป็นเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จที่มีอยู่ในพม่ามากว่า 46 ปีแล้ว ฉะนั้นตราบใดที่ยังไม่มีกระบวนการประชาธิปไตยและการปรองดองภายในพม่าเกิดขึ้ นอย่างเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่องและอย่างชอบธรรมสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงบริเวณชายแดนด้านทิศตะวันตกของไทยก็ยากที่จะเกิดขึ้นได้
       
กล่าวในภาพรวม ประเทศพม่าประกอบด้วยชาติพันธุ์ 19 กลุ่มหลักโดยชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาถือเป็นกลุ่มย่อยใน 19 กลุ่มชาติพันธุ์ เป็นชนกลุ่มน้อยที่นับถือศาสนาอิสลาม อาศัยอยู่ในรัฐอาราคาน(Arakan) ด้านทิศตะวันตกของพม่า มีพรมแดนติดต่อกับประเทศบังกลาเทศ ซึ่งในรัฐอาราคานมีชนชาติอาราคานที่นับถือศาสนาพุทธประกอบเป็นกลุ่มคนส่วนให ญ่ของรัฐอาราคาน
      
       รัฐบาลเผด็จการทหารพม่าสมัยนายพลเนวินได้ทำการรัฐประหารโค่นรัฐบาลปร ะชาธิปไตยของอูนุเมื่อปี พ.ศ. 2505 และได้สถาปนาระบอบเผด็จการทหารมาตลอด 46 ปีที่ผ่านมา เป็นที่ทราบกันดีทั่วไปว่า นับตั้งแต่ระบอบเผด็จการทหารพม่าขึ้นมามีอำนาจอย่างเบ็ดเสร็จเป็นเวลา 46 ปีเต็มจนถึงปัจจุบันระบอบเผด็จการทหารพม่ามีนโยบายเพื่อแบ่งแยกและปกครอง (divide and rule) ในพม่าอย่างชัดเจนมาตลอด ด้วยการใช้ปัจจัยความแตกต่างทางเชื้อชาติและศาสนาระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ทั้ ง 19 กลุ่มหลักและกลุ่มย่อย เป็นเครื่องมือทางการเมืองการปกครอง สร้างความเกลียดชังความแตกแยกระหว่างคนเชื้อชาติพม่า (ซึ่งมีกว่า 70%) กับกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ และระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยกัน ทั้งนี้ ฝ่ายเผด็จการทหารพม่าจะพยายามทำความเข้าใจและให้การสนับสนุนกลุ่มชาติพันธุ์ ต่าง ๆ ที่นับถือศาสนาพุทธเพื่อดึงมาเป็นแนวร่วม ในการทำสงครามปราบปรามกลุ่มชนส่วนน้อยอื่น ๆ ที่ไม่นับถือศาสนาพุทธ (เช่น ปราบปรามชาวกะเหรี่ยง KNU ที่นับถือศาสนาคริสต์และชาวโรฮิงญาซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม เป็นต้น) พร้อมกับให้ความร่วมมือกับกลุ่มชนส่วนน้อยบางกลุ่มหารายได้และผลประโยชน์มหา ศาลจากการผลิตและค้ายาเสพติดทุกประเภท (เช่น ยินยอมหลับหูหลับตาให้กับชนกลุ่มน้อยว้าแดงในรัฐฉานทำการผลิตและค้ายาบ้าเพื ่อลักลอบเข้ามาขายในประเทศไทย) ตลอดจนการหารายได้จากการทำลายสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ (เช่น การตัดไม้ทำลายป่า)
      
       สำหรับกรณีของชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาในพม่านั้น รัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ทำการปราบปรามอย่างรุนแรงมาโดยตลอด เพื่อบีบให้ชาวโรฮิงญาหนีการปราบปราม ทิ้งที่อยู่อาศัย อันเป็นการเปิดโอกาสให้ชาวอาราคาน (ซึ่งส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ) เข้ามาครอบครองพื้นที่อาศัยของชาวโรฮิงญา การบีบให้ชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญาละทิ้งที่อยู่อาศัยเพื่อหนีการปราบปรามโดยฝ่ ายรัฐบาลเผด็จการทหารพม่าถือได้ว่าเป็นนโยบายการบริหารจัดการเพื่อกำจัดชาติ พันธุ์อย่างเป็นระบบ (managed ethnic cleansing) ไม่ต่างจากนโยบายของอดีตประธานาธิบดี Slobodan Milosevic ที่ใช้การปราบปรามชาวบอสเนียอย่างรุนแรงเพื่อบีบให้ออกจากพื้นที่อาศัย เปิดทางให้ชาวเซิร์บเข้ามายึดครองพื้นที่อาศัยของชาวบอสเนียในอดีตประเทศยูโ กสลาเวีย อีกทั้งไม่แตกต่างจากนโยบายและการปฏิบัติการรุนแรงของขบวนการก่อการร้ายใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย เพื่อหวังสร้างความสะพรึงกลัวให้กับชาวไทยที่ไม่ใช่มุสลิมหนีอพยพออกจากพื้น ที่อันตรายของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ อันนำไปสู่สภาพการณ์ของผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced persons)เพื่อเปิดทางให้กับกลุ่มที่สนับสนุนการก่อการร้ายย้ายเข้ามายึดครอง พื้นที่ที่ถูกทอดทิ้ง
      
       รัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ทำการปราบปรามชาวโรฮิงญาอย่างรุนแรงและอย่ างกว้างขวางครั้งใหญ่ 2 ครั้ง (ช่วงปี พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2544) โดยผลของการปราบปรามอย่างรุนแรงอย่างโหดเหี้ยมทั้งสองครั้งดังกล่าวได้ทำให้ ชาวโรฮิงญาหนีภัยไปอาศัยอยู่ในประเทศบังกลาเทศ (ครั้งแรกจำนวน 200,000 คน ครั้งที่สอง 250,000 กว่าคน) และแม้ว่าทางสำนักข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยของสหประชาชาติ (องค์การ UNHCR) จะได้ช่วยให้ชาวโรฮิงญาเดินทางกลับไปยังถิ่นฐานเดิมในพม่าช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2544-2548 แต่เนื่องจากทางรัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ปล่อยให้ชาวอาราคานที่นับถือศาสนา พุทธเข้าไปครอบครองพื้นที่อาศัยของชาวโรฮิงญาเกือบหมดแล้ว อีกทั้งไม่เคยให้สัญชาติพม่าแก่ชาวโรฮิงญา (รวมทั้งชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ในพม่า) เป็นผลทำให้ชาวโรฮิงญากลายเป็นบุคคลไร้สัญชาติในพม่าและยังต้องประสบกับการป ราบปรามอย่างต่อเนื่องจากฝ่ายทหารพม่า ทำให้ต้องหนีกลับไปหาที่พักพิงในค่ายผู้อพยพของ UNHCR (กว่า 60,000 คน) และค่ายที่ทางการบังกลาเทศจัดให้ (กว่า 100,000 คน) ภายใต้สภาพความเป็นอยู่ที่เลวร้าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านสาธารณสุขและสาธารณูปโภค
      
       เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปทั้งในวงการของ NGO ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสิทธิมนุษยชนและความช่วยเหลือด้านมนุษ ยธรรมว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวโรฮิงญาหนีภัยไปยังประเทศบังกลาเทศนั้น เป็นเพราะการปราบปรามอย่างรุนแรงของรัฐบาลเผด็จการทหารพม่า ส่วนการหนีออกจากค่ายผู้อพยพในบังกลาเทศโดยเดินทางมาทางเรือโดยส่วนใหญ่อ้าง ว่าเพื่อไปยังประเทศมาเลเซีย แต่หลงทางหรือถูกลมพัดมายังฝั่งไทยนั้น มีสาเหตุสำคัญมาจากการไม่สามารถทนสภาพเลวร้ายของค่ายผู้อพยพ จึงจำเป็นต้องดิ้นรนหาแหล่งพักพิงใหม่ จึงทำให้เกิดขบวนการค้าและลักลอบมนุษย์ระหว่างประเทศ ทั้งนี้ การที่ชาวโรฮิงญาสามารถเดินทางออกมาจากประเทศบังกลาเทศทางเรือโดยเลาะมาตามช ายฝั่งของบังกลาเทศพม่า จนถึงไทยได้ย่อมต้องได้รับการรู้เห็นเป็นใจจากเจ้าหน้าที่ของบังกลาเทศและพม ่าจนสามารถมาขึ้นบนฝั่งไทยได้ มีการจ่ายเบี้ยบ้ายรายทางให้กับขบวนการลักลอบมนุษย์ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ของบังกลาเทศ พม่า ไทย และมาเลเซียเป็นทอด ๆ ไป (ไม่แตกต่างจากขบวนการลักลอบมนุษย์ทางบกที่นำชาวเกาหลีเหนือหลบหนีออกมาจากเ กาหลีเหนือผ่านทางจีนลงมายังพม่าหรือลาว เพื่อเข้ามายังประเทศไทย) ชาวโรฮิงญาเหล่านี้เมื่อมาถึงไทยหรือมาเลเซียแล้วก็จะกระจายไปอยู่ตามโรงงาน ต่างๆ เป็นคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายที่กลายเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ไม่ต่างจากแรงงานทาส และเป็นที่ต้องการของบรรดานายทุน เจ้าของโรงงาน เจ้าของไร่ยางพารา เพราะค่าจ้างต่ำมากเป็นพิเศษ ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ เป็นผลทำให้ประเทศไทยกลายเป็นแหล่งรองรับบุคคลเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายหลายสัญ ชาติหลายเผ่าพันธุ์ที่ขบวนการค้ามนุษย์และการลักลอบมนุษย์ในภูมิภาคเอเชียใต ้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก นำมาทิ้งไว้ให้ไทยต้องแบกภาระอย่างไม่มีที่สิ้นสุด โดยการสมรู้ร่วมคิดของบรรดาเจ้าหน้าที่ไทยที่ทุจริตประพฤติมิชอบ
      
       โดยข้อเท็จจริงแล้ว รัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนที่ฝ่ายไทยจำต้องรีบดำเนินการหาทางแก้ไขปัญหาผ ู้เข้าเมืองผิดกฎหมายชาวโรฮิงญามาตั้งแต่กรกฎาคม 2550 แล้ว และได้มีบัญชาเป็นทางการมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศและสภาความมั่นคงแห่ งชาติเป็นหน่วยงานหลักร่วมกันพิจารณาดำเนินการหามาตรการแก้ไขเป็นการเร่งด่ว นที่สุด พร้อมทั้งได้สั่งการชัดเจนให้กระทรวงการต่างประเทศจัดการประชุมระดับภูมิภาค เกี่ยวกับประเด็นการลักลอบขนคนเข้าเมือง (Human smuggling) ที่กรุงเทพฯ ในโอกาสแรก ซึ่งรวมทั้งกรณีชาวโรฮิงญา แต่เวลาผ่านไป 1 ปีครึ่ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกลับไม่ได้ดำเนินการอะไรอย่างจริงจัง กลับปล่อยปละละเลยจนมีเหตุการณ์ร้ายแรงตามที่เป็นข่าวเมื่อ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาว่า ทางกองทัพเรือได้ปฏิบัติต่อชาวโรฮิงญาอย่างไร้มนุษยธรรม เป็นผลให้ชาวโรฮิงญาเสียชีวิตกลางทะเลจำนวนมาก ส่วนข่าวดังกล่าวจะจริงหรือเท็จยังไม่มีใครสามารถยืนยันได้ แต่ที่แน่นอนคือ ภาพลักษณ์และภาพพจน์ของประเทศไทยได้รับความเสียหายไปแล้วจากการรายงานข่าวขอ งบรรดาสื่อต่างประเทศ เพราะความไม่เอาใจใส่และไม่รับผิดชอบของหน่วยงานของไทย โดยปล่อยปละละเลยมาเป็นเวลากว่า 1 ปีครึ่ง
      
       ประเด็นข่าวเรื่องหน่วยงานไทยที่เกี่ยวข้องได้ละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อ ชาวโรฮิงญาจนมีผลทำให้เกิดการเสียชีวิตจำนวนมากนั้น ประเด็นไม่ได้อยู่ที่สิทธิในการผลักดันหรือในการส่งตัวชาวโรฮิงญากลับ ไปยังแหล่งที่เดิม เพราะทุกประเทศมีอำนาจอธิปไตยที่จะไม่ให้มีการเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย หากแต่ประเด็นอยู่ที่วิธีการดำเนินการและการปฏิบัติต่อชาวโรฮิงญาว่าผิดหลัก มนุษยธรรมหรือไม่ มีการดำเนินการเกินกว่าเหตุ และขัดต่อหลักการว่าด้วยสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานหรือไม่ แต่สิทธิมนุษยชนไม่ได้หมายความว่าชาวโรฮิงญามีสิทธิที่เข้าเมืองโดยผิดกฎหมา ยของไทยหรือมีสิทธิที่จะอ้างสิทธิมนุษยชนเพื่อละเมิดอธิปไตยในน่านน้ำของไทย ข้อครหาที่มีต่อรัฐบาลไทยจะเบาบางและหมดไปต่อเมื่อคณะกรรมการที่มีหน้าที่สอ บสวนหาข้อเท็จจริงในเรื่องนี้สามารถสรุปความจริงออกมาได้อย่างปราศจากข้อสงส ัยใด ๆ ในโอกาสแรก
      
       โดยสรุปปัญหาเรื่องของคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายชาวโรฮิงญาโดยเนื้อหาแ ล้วไม่ได้แตกต่างจากแรงงานผิดกฎหมายชนกลุ่มน้อยชาวพม่าอีกกว่า 3 ล้านคนในประเทศไทย รวมทั้งแรงงานผิดกฎหมายชาวเกาหลีเหนือ ชาวลาว และกัมพูชาอีกหลายหมื่นคนที่เข้ามาในไทยอย่างผิดกฎหมาย แต่ในกรณีของชาวพม่า(ชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์ต่าง ๆ) ที่หนีมาฝั่งไทยจะด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือเป็นเพราะถูกปราบปรามอย่างรุนแร งจากเผด็จการทหารพม่าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุการณ์ยืนยันให้เป็นที่ประจักษ์อย่างปราศจากข้อสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้นว่า รัฐบาลที่ทำการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงที่สุดและอย่างยาวนานที่สุดใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือภูมิภาคอาเซียนคือรัฐบาลของระบอบเผด็จการ ทหารพม่าซึ่งอยู่ในอำนาจมากว่า 46 ปีแล้ว ไม่ใช่รัฐบาลไทยชุดปัจจุบันแน่นอน ตรงกันข้ามประเทศไทยกลับต้องมาแบกภาระหนักหน่วงดูแลผู้อพยพผู้เข้าเมืองโดยผ ิดกฎหมายจากประเทศพม่ามาเป็นเวลากว่า 46 ปี ทั้งนี้เพราะรากเหง้าของปัญหาชาวโรฮิงญาและปัญหาชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ จากพม่าที่หนีมาพักพิงในประเทศไทย มีสาเหตุโดยตรงมาจากระบอบการเมืองที่เป็นเผด็จการ และไร้มนุษยธรรมที่มีอยู่ในประเทศพม่า นั่นคือ ระบอบเผด็จการทหารพม่าที่ไม่เอื้ออาทรต่อประชาชนพม่าที่มุ่งแต่จะปราบปรามอย ่างรุนแรง ที่ไม่เคยคิดแก้ปัญหาขัดแย้งที่มีกับบรรดากลุ่มชนส่วนน้อยชาติพันธุ์ต่าง ๆ ด้วยวิธีการทางการเมืองหรือด้วยการเจรจาหาข้อยุติอย่างสันติวิธี แต่กลับมุ่งใช้การแก้ปัญหาขัดแย้งด้วยวิธีการทางการทหารตลอด 46 ปีที่ผ่านมา โดยไม่ใส่ใจกับผลกระทบร้ายแรงที่มีต่อประเทศเพื่อนบ้านอย่างไทย หากแต่จงใจสร้างปัญหาให้กับไทยมาโดยตลอดอย่างไม่มีที่จบสิ้น และในเมื่อข้อเท็จจริงเป็นดังกล่าวมานี้ จึงเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าเพราะเหตุใดความขัดแย้งระหว่างระบอบเผด็จการทหารพ ม่ากับบรรดากลุ่มชนส่วนน้อยกลุ่มต่าง ๆ ถึงไม่เคยได้ข้อยุติแบบสันติวิธีในรูปแบบของข้อตกลงทางการเมือง (political settlement) จะมีบางครั้งก็แต่เพียงในรูปแบบของข้อตกลงหยุดยิง (ceasefire agreement) อันเป็นเพียงการหย่าศึกชั่วคราวเท่านั้น เพื่อรอวันที่จะกลับมาห้ำหั่นกันอีกในอนาคต รากเหง้าของปัญหาร้ายแรงทั้งหลายทั้งปวงที่เกิดขึ้นในพม่าและส่งผลกระทบทางล บโดยตรงต่อความมั่นคงทุกด้านของประเทศไทยคือ ระบอบการเมืองที่เป็นเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จที่มีอยู่ในพม่ามากว่า 46 ปีแล้ว ฉะนั้นตราบใดที่ยังไม่มีกระบวนการประชาธิปไตยและการปรองดองภายในพม่าเกิดขึ้ นอย่างเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่องและอย่างชอบธรรมสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงบริเวณชายแดนด้านทิศตะวันตกของไทยก็ยากที่จะเกิดขึ้นได้
โดย สุรพงษ์ ชัยนาม     

โรฮิงญามหันตภัยแห่งมนุษย์ไร้อนาคต


     เคยเห็นบุคคลลักษณะคล้ายแขกผิวดำปานกลาง ร่างกายสันทัด แต่งตัวขะมุกขะมอม หลับนอนริมสถานที่สาธารณะ หรือเดินท่อมอยู่ตามเมือง รับจ้างในสิ่งที่คนไทยทั่วไปไม่ทำกัน
เราอาจจะเข้าใจว่า พวกเขา คือ แรงงานต่างด้าว หรือพวกหลบหนีเข้าเมืองธรรมดา ไม่คิดไกลไปว่า พวกนี้กำลังจะกลายเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศชาติ ไม่ใช่แค่ภาระสังคม แต่เป็นความเป็นความตายที่เกี่ยวโยงกับการก่อเหตุร้ายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วย  
เพิ่งกลับมาจากการเยี่ยมพื้นที่ตากและพิษณุโลกพบว่า ฝ่ายความมั่นคงที่นั่นกำลังให้ความวิตกต่อการลักลอบเข้าเมืองของชาวโรฮิงญา 
ซึ่งเป็นพม่าประเภทหนึ่งโดยเรียกขาน (ไม่ได้สัญชาติพม่าเสียด้วยซ้ำ) แต่เป็นมุสลิมโดยศาสนา และเป็นอะไรก็ได้ตามแล้วแต่จะมีใครใช้ให้เป็น ประการหลังนี้น่าเป็นห่วงมาก  
นโยบายแบ่งแยกและปกครองของฝรั่งเจ้าอาณานิคมสร้างความแตกแยกให้แก่ชนท้องถิ่นภายใต้อาณัติของตนมานานแล้ว และตกทอดมาถึงทุกวันนี้ ก็เพราะแขกมุสลิมจากเบงกอลฟากตะวันออกนั้น เข้ามาแย่งพื้นที่และทรัพยากรของพม่ายะไข่ คนท้องถิ่นก็เกลียดชัง รัฐบาลพม่าทุกวันนี้ก็กดขี่ชนิดทำกันอย่างไม่ใช่คน 
แต่การที่ปรากฏกระบวนการชักนำชาวโรฮิงญาให้เข้าสู่ไทยอย่างเป็นระบบเมื่อไม่นานมานี้และเกิดขบวนการเรียกร้องสิทธิมนุษยชนให้พวกเขาอยู่ในไทยอย่างถาวร จับได้ถึงความเกี่ยวข้องกับมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พื้นที่ที่กำลังลุกเป็นไฟอยู่นั้น เป็นเรื่องที่ไม่ธรรมดา  

กล่าวได้ว่าชาวโรฮิงญา คือพม่าหน้าแขก ที่มีเชื้อสายบังกลา มีถิ่นฐานอยู่ไกลถึงแคว้นยะไข่ที่ติดกับบังกลาเทศ ปกติดินแดนแถบนี้ก็แปลกแยกจากพม่าอยู่แล้ว ชาวมุสลิม 5 แสนคนที่นั่นยิ่งแปลกแยกจากชาวยะไข่ทั่วไปที่นับถือพุทธอีกด้วย โดยพวกเขามีชาติพันธุ์และหน้าตาเดียวกับแขกเบงกอลเพราะถูกอังกฤษลากให้เข้ามาอาศัยอยู่ในพม่า นับตั้งแต่ที่อังกฤษผนวกพม่าเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินิยมอินเดียเมื่อร้อยกว่าปีก่อน และกลายเป็นลูกไล่ของแคว้นเบงกอลในห้วงเวลานั้น  
แต่ไหนแต่ไรผู้นำพม่านั้นเป็นพวกเกลียดชังชนเชื้อสายอื่นและศาสนาอื่น ความคิดแบบโบราณนี้มีส่วนทำให้ความสงบในดินแดนที่เต็มไปด้วยคนหลากชาติพันธุ์นั้นไม่เกิดขึ้น คนไร้รากแบบโรฮิงญานั้นเป็นที่ถูกเกลียดอย่างที่สุด จึงต้องโดนกดขี่ขนาดหนัก ไม่มีสัญชาติ ไม่มีการศึกษา ไม่มีงาน ไม่มีอนามัย ไม่มีทรัพย์สิน โดนกระทืบทำร้ายและถูกเกณฑ์แรงงานเป็นประจำ บีบกันชนิดถ้าไม่อยากตายก็ต้องหลบหนีออกนอกประเทศ จึงมีโรฮิงญาเหลือในพม่าราวล้านคน แต่อพยพไปอยู่ในประเทศมุสลิมเอเชียอื่นราว 3 ล้าน 
โรฮิงญาหลบหนีเข้าไทยมานานแล้ว โดยปะปนกับแรงงานต่างด้าวอื่นๆ ชนิดดูหน้าก็นึกว่า ชาวปากีสถาน หรือบังกลาเทศ เดิมทีก็ไม่น่าอันตรายด้านความมั่นคงของสังคมมากไปกว่าแรงงานต่างด้าวกลุ่มอื่นที่ท่วมประเทศอยู่ในเวลานี้ เดินกันเต็มเมือง ชอนไชลึกซึ้งเข้าไปอยู่ถึงบ้านช่องห้องหอผู้ดีมีสกุล  
การจับกุมและผลักดันกลับชาวโรฮิงญาแค่พันเศษในปีนี้เทียบไม่ได้เลยกับโรฮิงญาอีกราว 2 หมื่นที่อยู่ในประเทศไทยซึ่งยอมทำทุกอย่างเพื่อความอยู่รอดของตัว โดยส่วนหนึ่งมีการติดต่อกับกลุ่มมุสลิมเคร่งจารีต ชักพาลงไปทำอะไรลึกลับบริเวญรอยต่อชายแดนไทย-มาเลเซีย 
สัปดาห์หน้าจะกล่าวถึงโรฮิงญากับกระบวนการที่ซับซ้อนและน่าสะพรึงกลัวกันต่ออย่าลืมแวะอ่าน www.oknation.net/blog/ruarob <http://www.oknation.net/blog/ruarob> ด้วยนะครับ     



–>เคยเห็นบุคคลลักษณะคล้ายแขกผิวดำปานกลาง ร่างกายสันทัด แต่งตัวขะมุกขะมอม หลับนอนริมสถานที่สาธารณะ หรือเดินท่อมอยู่ตามเมือง รับจ้างในสิ่งที่คนไทยทั่วไปไม่ทำกัน
เราอาจจะเข้าใจว่า พวกเขา คือ แรงงานต่างด้าว หรือพวกหลบหนีเข้าเมืองธรรมดา ไม่คิดไกลไปว่า พวกนี้กำลังจะกลายเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศชาติ ไม่ใช่แค่ภาระสังคม แต่เป็นความเป็นความตายที่เกี่ยวโยงกับการก่อเหตุร้ายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วย 
เพิ่งกลับมาจากการเยี่ยมพื้นที่ตากและพิษณุโลกพบว่า ฝ่ายความมั่นคงที่นั่นกำลังให้ความวิตกต่อการลักลอบเข้าเมืองของชาวโรฮิงญา ซึ่งเป็นพม่าประเภทหนึ่งโดยเรียกขาน (ไม่ได้สัญชาติพม่าเสียด้วยซ้ำ) แต่เป็นมุสลิมโดยศาสนา และเป็นอะไรก็ได้ตามแล้วแต่จะมีใครใช้ให้เป็น ประการหลังนี้น่าเป็นห่วงมาก  กล่าวได้ว่าชาวโรฮิงญา คือพม่าหน้าแขก ที่มีเชื้อสายบังกลา มีถิ่นฐานอยู่ไกลถึงแคว้นยะไข่ที่ติดกับบังกลาเทศ ปกติดินแดนแถบนี้ก็แปลกแยกจากพม่าอยู่แล้ว ชาวมุสลิม 5 แสนคนที่นั่นยิ่งแปลกแยกจากชาวยะไข่ทั่วไปที่นับถือพุทธอีกด้วย โดยพวกเขามีชาติพันธุ์และหน้าตาเดียวกับแขกเบงกอลเพราะถูกอังกฤษลากให้เข้ามาอาศัยอยู่ในพม่า นับตั้งแต่ที่อังกฤษผนวกพม่าเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินิยมอินเดียเมื่อร้อยกว่าปีก่อน และกลายเป็นลูกไล่ของแคว้นเบงกอลในห้วงเวลานั้น 

นโยบายแบ่งแยกและปกครองของฝรั่งเจ้าอาณานิคมสร้างความแตกแยกให้แก่ชนท้องถิ่นภายใต้อาณัติของตนมานานแล้ว และตกทอดมาถึงทุกวันนี้ ก็เพราะแขกมุสลิมจากเบงกอลฟากตะวันออกนั้น เข้ามาแย่งพื้นที่และทรัพยากรของพม่ายะไข่ คนท้องถิ่นก็เกลียดชัง รัฐบาลพม่าทุกวันนี้ก็กดขี่ชนิดทำกันอย่างไม่ใช่คน แต่ไหนแต่ไรผู้นำพม่านั้นเป็นพวกเกลียดชังชนเชื้อสายอื่นและศาสนาอื่น ความคิดแบบโบราณนี้มีส่วนทำให้ความสงบในดินแดนที่เต็มไปด้วยคนหลากชาติพันธุ์นั้นไม่เกิดขึ้น คนไร้รากแบบโรฮิงญานั้นเป็นที่ถูกเกลียดอย่างที่สุด จึงต้องโดนกดขี่ขนาดหนัก ไม่มีสัญชาติ ไม่มีการศึกษา ไม่มีงาน ไม่มีอนามัย ไม่มีทรัพย์สิน โดนกระทืบทำร้ายและถูกเกณฑ์แรงงานเป็นประจำ บีบกันชนิดถ้าไม่อยากตายก็ต้องหลบหนีออกนอกประเทศ จึงมีโรฮิงญาเหลือในพม่าราวล้านคน แต่อพยพไปอยู่ในประเทศมุสลิมเอเชียอื่นราว 3 ล้าน

โรฮิงญาหลบหนีเข้าไทยมานานแล้ว โดยปะปนกับแรงงานต่างด้าวอื่นๆ ชนิดดูหน้าก็นึกว่า ชาวปากีสถาน หรือบังกลาเทศ เดิมทีก็ไม่น่าอันตรายด้านความมั่นคงของสังคมมากไปกว่าแรงงานต่างด้าวกลุ่มอื่นที่ท่วมประเทศอยู่ในเวลานี้ เดินกันเต็มเมือง ชอนไชลึกซึ้งเข้าไปอยู่ถึงบ้านช่องห้องหอผู้ดีมีสกุล 
แต่การที่ปรากฏกระบวนการชักนำชาวโรฮิงญาให้เข้าสู่ไทยอย่างเป็นระบบเมื่อไม่นานมานี้และเกิดขบวนการเรียกร้องสิทธิมนุษยชนให้พวกเขาอยู่ในไทยอย่างถาวร จับได้ถึงความเกี่ยวข้องกับมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พื้นที่ที่กำลังลุกเป็นไฟอยู่นั้น เป็นเรื่องที่ไม่ธรรมดา  การจับกุมและผลักดันกลับชาวโรฮิงญาแค่พันเศษในปีนี้เทียบไม่ได้เลยกับโรฮิงญาอีกราว 2 หมื่นที่อยู่ในประเทศไทยซึ่งยอมทำทุกอย่างเพื่อความอยู่รอดของตัว โดยส่วนหนึ่งมีการติดต่อกับกลุ่มมุสลิมเคร่งจารีต ชักพาลงไปทำอะไรลึกลับบริเวญรอยต่อชายแดนไทย-มาเลเซีย
 สัปดาห์หน้าจะกล่าวถึงโรฮิงญากับกระบวนการที่ซับซ้อนและน่าสะพรึงกลัวกันต่ออย่าลืมแวะอ่าน www.oknation.net/blog/ruarob <http://www.oknation.net/blog/ruarob> ด้วยนะครับ    

โรฮิงญา